ข้อมูลทั่วไปตำบลเว่อ
สภาพทั่วไปของตำบลเว่อ
ที่ตั้ง อาณาเขต และอาชีพของประชากร
พื้นที่ทั่วไปของตำบลเว่อ
เป็นพื้นที่ลาดเอียง ยากที่จะพัฒนาให้เกิดความสวยงาม
สภาพดินทั่วไปเป็นดินร่วนปนทราย พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในการทำนาข้าว
ห่างจากอำเภอยางตลาด ๓๑ กิโลเมตร ตำบลเว่อ
มีทั้งหมด ๑๑ หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่
|
๑
|
บ้านหนองเสือ
|
นายสุนทร ภูแผ่นนา
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๒
|
บ้านห้วยเตย
|
นายสง่า ภูสุดสูง
|
กำนันตำบลเว่อ
|
หมู่ที่
|
๓
|
บ้านห้วยเตยใต้
|
นายสากล อุทการ
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๔
|
บ้านห้วยเตยเหนือ
|
นายกฤษฎา ปัดสา
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๕
|
บ้านห้วยเตยกลาง
|
นายประวิทย์ นามโส
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๖
|
บ้านห้วยเตยคำ
|
นายสงวน ภูสมตา
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๗
|
บ้านโคกสำราญ
|
นายนิพล ชมภูเพชร
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๘
|
บ้านป่าติ้ว
|
นายหนูปาน ภูนาแร่
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๙
|
บ้านศรีสำราญ
|
นายหนูเทียน
อุ่นสิม
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๑๐
|
บ้านคำเจริญ
|
นายวินิจฉัย จันบุตราช
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
หมู่ที่
|
๑๑
|
บ้านห้วยเตยหลานปู่
|
นายอุทัย นาสะอ้าน
|
ผู้ใหญ่บ้าน
|
อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ
|
ติดต่อกับเขตตำบลหัวหิน
อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
|
ทิศตะวันตก
|
ติดต่อกับเขตตำบลโนนสะอาด
อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
|
ทิศตะวันออก
|
ติดต่อกับเขตตำบลเขาพระนอน
อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
|
ทิศใต้
|
ติดต่อกับเขตตำบลโนนสะอาด
อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์
|
ข้อมูลอาชีพของประชากรในตำบลเว่อ
- ทำนา
|
ร้อยละ
๓๕
|
- รับจ้างทั่วไป
|
ร้อยละ
๒๓
|
- เลี้ยงสัตว์
|
ร้อยละ ๑๖
|
- ทำไร่
|
ร้อยละ ๑๔
|
- ค้าขาย
|
ร้อยละ ๑๒
|
แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ
- ลำน้ำ,ลำห้วย
|
๘
|
- บึง หนอง
|
๘
|
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นเอง
- ฝาย
|
๑๑
แห่ง
|
- บ่อน้ำตื้น
|
๒๔
บ่อ
|
-
บ่อน้ำบาดาล
|
๑๐
บ่อ
|
- ประปาหมู่บ้าน
|
๒
แห่ง
|
ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบลเว่อ
๑. วัด
|
๘
แห่ง
|
๒. โรงเรียน
-โรงเรียนบ้านห้วยเตยวิทยา(โรงเรียนขยายโอกาส)
-โรงเรียนบ้านหนองเสือ
|
๒
แห่ง
|
๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองเสือ
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดศรีวิริยะสัมมาราม
|
๒
แห่ง
|
๔. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเตย
|
๑ แห่ง
|
๕. องค์การบริหารส่วนตำบลเว่อ
ที่ตั้ง ๑๙๓ หมู่ที่ ๑๑ บ้านห้วยเตยหลานปู่
ตำบลเว่อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
|
๑ แห่ง
|
เส้นทางการคมนาคม
การเดินทางเข้าสู่ตำบลเว่อ
จากตัวอำเภอยางตลาด
ผ่านบ้านดงบ่อ บ้านเปือย ระยาทาง ๘ กิโลเมตร
แยกเข้าปากทางเขื่อนลำปาวตามถนนทางหลวงชนบท ระยะทาง ๑๒ กิโลเมตร
แยกเข้าบ้านหนองกุง ระยะทาง ๔ กิโลเมตร และผ่านเข้ามาบ้านหนองแวง
มาถึงตำบลเว่อเป็นระยะทาง ๖ กิโลเมตร รวมระยะทาง ๓๖ กิโลเมตร
ระบบสาธารณูปโภค
-
มีไฟฟ้าครบทุกหมู่บ้าน
-
น้ำประปาหมู่บ้านใช้ครบทุกหมู่บ้าน
-
โทรศัพท์สาธารณะ ๑๔ แห่ง
-
ที่ทำการไปรษณีย์ ๑ แห่ง
-
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
สถานประกอบการเอกชน
๑.ปั้มน้ำมัน ๒ แห่ง
๒. ร้านขายของสิ่งก่อสร้าง ๒ ร้าน
อุตสาหกรรมในครัวเรือน
1.
ตัดเย็บเสื้อผ้า บ้านคำเจริญ หมู่ที่ ๑๐
2.
ข้าวหลาม บ้านห้วยเตยเหนือ หมู่ที่ ๔
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
1.
กลุ่มสบู่สมุนไพร บ้านห้วยเตย หมู่ที่ ๒
ผู้นำกลุ่ม คือ
นางบุญล้วน พละชัย
2.
ดอกไม้ประดิษฐ์จากผ้าไหม บ้านห้วยเตยใต้ หมู่ที่ ๓
ผู้นำกลุ่ม คือ
นางยุพิน ภูสีเงิน
3.
กลุ่มข้าวกล้องงอก บ้านคำเจริญ
หมู่ที่ ๑๐
ผู้นำกลุ่ม คือ
พระอาจารย์ชมเชย เขมโย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเตย
ตำบลเว่อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
ประวัติความเป็นมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านห้วยเตยตั้งที่หมู่ที่
๔ บ้านห้วยเตยเหนือ ก่อสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ แต่เดิมนั้นได้มีชื่อเรียกว่า
สำนักงานผดุงครรภ์บ้านห้วยเตย
โดยแต่เริ่มแรกของการก่อตั้งนั้นยังไม่มีที่สาธารณประโยชน์ สำหรับการก่อสร้างอาคาร
จึงได้ขอบริจาคที่ดินจากชาวบ้าน โดยมีข้อตกลงว่าจะให้บุตรธิดาของผู้ที่บริจาคที่ดินได้ไปศึกษาและกลับมาปฏิบัติงานยังสำนักงานผดุงครรภ์ที่ตัวเองได้บริจาคที่ดินนั้น
โดยได้รับบริจาคที่ดินจาก คุณพ่อช่วง
เทวะเส ซึ่งมีอาชีพรับราชการครู
ท่าได้เล็งเห็นว่าบ้านห้วยเตยอยู่ห่างไกลจากตัว อำเภอมาก
เวลาเจ็บป่วยฉุกเฉินไม่มีสถานพยาบาลที่ใกล้ให้บริการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการผ่อนหนักให้เป็นเบา
ท่านจึงได้ขอทำการบริจาคที่ของตนเองเพื่อเป็นที่ดินสาธารณประโยชน์
เพื่อก่อสร้างสำนักงาผดุงครรภ์บ้านห้วยเตย และได้ส่งนางบุญล้วน พละชัย ธิดาของคุณพ่อช่วง เทวะเส
ไปศึกษาต่อด้านผดุงครรภ์ และเมื่อศึกษาจบได้กลับมาทำงานที่สำนักงานผดุงครรภ์บ้านห้วยเตย
ภายหลังสำนักงานผดุงครรภ์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีอนามัยบ้านห้วยเตย
และรัฐบาลปัจจุบันได้ให้ชื่อว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านห้วยเตย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น